ใบงานครั้งที่ 2
โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา สพท.นศ.4
ที่ตั้งหมู่ที่ 3 ต.ท่าศาลา อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานที่กำหนดมีระบบสารสนเทศที่จำเป็นสำหรับสถานศึกษามี 4 ระบบ ดังนี้
(1) ระบบสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ความต้องการของชุมชน สภาพการบริหารและแนวทางการจัดการศึกษาตามโครงสร้างและภารกิจ เช่น
ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา ศักยภาพของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน แนวโน้มการพัฒนาท้องถิ่น แนวทางการจัดการศึกษา การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ผลงานและการแสดงออกของผู้เรียน รูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน
(3) ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการ ประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับหลักสูตรและการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผลการเรียน การพัฒนากิจกรรมแนะแนว การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การวิจัยในชั้นเรียน
(4) ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ เช่น สภาพและบรรยากาศการเรียนรู้ ทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวก การพัฒนาวิชาชีพ สุขภาพอนามัย การจัดการแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาวิชาชีพ ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครองและชุมชน
วิสัยทัศน์ เป็นแหล่งเรียนรู้ชั้นดี มีครูเชี่ยวชาญ ประสานชุมชน นักเรียนเก่ง-ดี เทคโนโลยีก้าวทัน สร้างสรรค์สังคม
พันธกิจ สร้างโรงเรียนชั้นดี ให้เด็กไทยได้เรียนด้วยตนเองตลอดชีวิต คิดวิเคราะห์ มีความสามารถทางด้านเทคโนโลยี มีคุณธรรม รักษ์วัฒนธรรมไทย และมั่นใจในตนเอง
เป้าประสงค์ (GOAL)
1.ด้านนักเรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดวิเคราะห์ มีทักษะในการดำรงชีวิต มั่นใจในตนเอง
(2) ระบบสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และ มีความเป็นไทย
2.ด้านกระบวนการจัดการศึกษาภายในโรงเรียน เป็นโรงเรียนธรรมาภิบาล สร้างโอกาสและดูแลช่วยเหลือนักเรียน บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และมีการประกันคุณภาพ
3.ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา มีความเป็นมืออาชีพ และ E-school
4. ด้านงบประมาณและทรัพยากร ภาคีเครือข่าย และ โรงเรียนมีทรัพยากรที่เหมาะสม
บริบทของโรงเรียน
ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา ศักยภาพของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน แนวโน้มการพัฒนาท้องถิ่น แนวทางการจัดการศึกษา การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ผลงานและการแสดงออกของผู้เรียน รูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน
(3) ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการ ประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับหลักสูตรและการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผลการเรียน การพัฒนากิจกรรมแนะแนว การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การวิจัยในชั้นเรียน
(4) ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ เช่น สภาพและบรรยากาศการเรียนรู้ ทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวก การพัฒนาวิชาชีพ สุขภาพอนามัย การจัดการแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาวิชาชีพ ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครองและชุมชน
วิสัยทัศน์ เป็นแหล่งเรียนรู้ชั้นดี มีครูเชี่ยวชาญ ประสานชุมชน นักเรียนเก่ง-ดี เทคโนโลยีก้าวทัน สร้างสรรค์สังคม
พันธกิจ สร้างโรงเรียนชั้นดี ให้เด็กไทยได้เรียนด้วยตนเองตลอดชีวิต คิดวิเคราะห์ มีความสามารถทางด้านเทคโนโลยี มีคุณธรรม รักษ์วัฒนธรรมไทย และมั่นใจในตนเอง
เป้าประสงค์ (GOAL)
1.ด้านนักเรียน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดวิเคราะห์ มีทักษะในการดำรงชีวิต มั่นใจในตนเอง
(2) ระบบสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และ มีความเป็นไทย
2.ด้านกระบวนการจัดการศึกษาภายในโรงเรียน เป็นโรงเรียนธรรมาภิบาล สร้างโอกาสและดูแลช่วยเหลือนักเรียน บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และมีการประกันคุณภาพ
3.ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา มีความเป็นมืออาชีพ และ E-school
4. ด้านงบประมาณและทรัพยากร ภาคีเครือข่าย และ โรงเรียนมีทรัพยากรที่เหมาะสม
บริบทของโรงเรียน
ปรัชญา ปัญญา นรานัง รัตนัง - ปัญญาเป็นรัตนะของนรชน
คำขวัญ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูธรรม สัมพันธ์ชุมชน
สี สีเหลืองและสีเทา(สีเหลือง หมายถึงคุณธรรม สีเทาหมายถึงมันสมอง(ปัญญาความรู้)
ต้นไม้ ต้นตะเคียนทอง
อักษรย่อโรงเรียน ท.ศ.
ผู้อำนวยการ นายกรีฑา วีระพงศ์ ตำแหน่งผู้อำนวยโรงเรียนระดับเชี่ยวชาญ
จำนวนนักเรียนและจำนวนห้องเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียน ม.ต้น 1794 คนจำนวน 39 ห้องเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียน ม.ปลาย 821 คนจำนวน 19 ห้องเรียน
รวมนักเรียนทั้งสิ้น 2685 คน จำนวน 58 ห้องเรียน
กลยุทธ์ของโรงเรียน (Strategy) มีกลยุทธ์หลัก 5 ด้าน ดังนี้
1.พัฒนาระบบบริหารจัดการโรงเรียนที่ดี คล่องตัว มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนพัฒนาศักยภาพ มีคุณธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม
2. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ความรู้ความสามารถ คุณลักษณะที่พึงประสงค์และทักษะการดำรงชีวิตได้ตามศักยภาพ
3.พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรของโรงเรียนให้เป็นมืออาชีพ มีทักษะในการปฏิบัติงานสามารถจัดกระบวนการเรียนและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
4.เพิ่มสมรรถนะของโรงเรียนในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้และบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน
5. ระดมสรรพกำลังสร้างภาคีเครือข่ายอุปถัมภ์ที่เข้มแข็ง อันเกิดจากพลังการมีส่วนร่วม ของประชาชน องค์กร ประชาสังคม ในรูปแบบผู้อุปถัมภ์และผู้ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติพัฒนา
แผนงานหลัก
1. แผนพัฒนาระบบบริหารและการจัดการ
2. แผนพัฒนาคุณภาพนักเรียนและกระบวนการจัดการเรียนรู้
3. แผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
4. แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร
5. แผนพัฒนาระบบภาคีเครือข่ายอุปถัมภ์และทรัพยากรทางการศึกษา
แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีโครงการ/งาน/กิจกรรม ดังนี้
1.โครงการพัฒนาศักยภาพสถานศึกษาและครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ ICT
2.โครงการผลิตพัฒนาและจัดซื้ออุปกรณ์สำนักงาน(บริหารทั่วไป)
3.โครงการซ่อมบำรุงระบบบริหารจัดการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ICT
สภาพปัญหาที่ต้องพัฒนาในเรื่องการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศในโรงเรียน
1.ปรับปรุงระบบข้อมูลให้ทันสมัย กะทัดรัด ชัดเจน เข้าใจง่าย สะดวกต่อการใช้งานและเก็บรักษา
และลดความซ้ำซ้อนของงานโดยไม่จำเป็น
2.ต้องทดลองใช้ระบบสารสนเทศระยะหนึ่งแล้วปรับปรุงให้เหมาะสมมีประโยชน์และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
3.ผู้บริหารแต่ละ ฝ่ายงาน ต้องระบุรายการข้อมูลที่ใช้ปฏิบัติงาน และให้บริการตามลำดับความจำเป็นก่อนและหลัง ต้องประสานงานกับผู้พัฒนาโปรแกรมให้มีชุดคำสั่งในการสำรองข้อมูลอัตโนมัติ (Back up Data) เพื่อป้องกันข้อมูลสูญหาย
4. จัดทำเอกสาร คู่มือ การใช้งานของโปรแกรมต่างๆ สำหรับให้ศึกษาเพิ่มเติม ได้ตลอดเวลา
5. ต้องมีการตรวจสอบข้อมูล ให้มีความเป็นปัจจุบัน ข้อมูลที่เกิดทันต่อการใช้งาน มีความเที่ยงตรง ตามเนื้อหาของสาระสนเทศที่ต้องการ
6.ให้ความรู้บุคลากรโดย ให้การฝึกอบรมและพัฒนาครูให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ได้ เรียนรู้วิธีการใช้โปรแกรมต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของตนเอง เพื่อกระจายงาน และมีข้อมูลทันต่อการใช้งาน
7.ผู้รับผิดชอบและประสานงานปรับปรุงระบบสารสนเทศจัดให้อยู่ในรูปคณะกรรมการโดยคัดเลือกจากบุคคลที่เหมาะสม และมีจำนวนมากพอกับปริมาณงานที่ต้องรับผิดชอบ
ด้านทรัพยากรของระบบ
1.จัดให้มีศูนย์สารสนเทศระดับโรงเรียน มีการเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย และการสื่อสารข้อมูลสารสนเทศแบบเชื่อมตรงกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก โดยใช้ระดับ Intranet
2.ประสนงานกับผู้ดูแล Website ให้ปรับปรุงการทำงานของโปรแกรม เพื่อให้ผู้กรอกข้อมูลสามารถกรอกข้อมูลแบบ Offline ได้เสริมให้ครบถ้วนเพื่อความสะดวกในการใช้งาน และจัดหาวัสดุให้เพียงพอต่อการใช้งาน เช่น แผ่นซีดี แผ่นดิสก์ และอื่นๆ
งบประมาณโรงเรียนต้องจัดสรรงบประมาณสำหรับขยายระบบสารสนเทศและพัฒนานวัตกรรมให้มีสมรรถนะการทำงานที่สูงขึ้น โดยขอจัดสรรงบประมาณจากหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น จากอบต.หรือ อบจ.และมีแผนการใช้งบประมาณที่รองรับการขยายระบบสารสนเทศและพัฒนานวัตกรรม
อ้างอิง
แผนปฎิบัตงานโรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษาปีการศึกษา 2552
http://aca.cpy.ac.th/web/data/33.doc
http://web.bsru.ac.th/~suttisuphang/6608601.doc
http://gotoknow.org/blog/bonnyman/137058
http://gotoknow.org/blog/maneekant/168292
http://innotech4all.blogspot.com/2009/10/blog-post.html
คำขวัญ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูธรรม สัมพันธ์ชุมชน
สี สีเหลืองและสีเทา(สีเหลือง หมายถึงคุณธรรม สีเทาหมายถึงมันสมอง(ปัญญาความรู้)
ต้นไม้ ต้นตะเคียนทอง
อักษรย่อโรงเรียน ท.ศ.
ผู้อำนวยการ นายกรีฑา วีระพงศ์ ตำแหน่งผู้อำนวยโรงเรียนระดับเชี่ยวชาญ
จำนวนนักเรียนและจำนวนห้องเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียน ม.ต้น 1794 คนจำนวน 39 ห้องเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียน ม.ปลาย 821 คนจำนวน 19 ห้องเรียน
รวมนักเรียนทั้งสิ้น 2685 คน จำนวน 58 ห้องเรียน
กลยุทธ์ของโรงเรียน (Strategy) มีกลยุทธ์หลัก 5 ด้าน ดังนี้
1.พัฒนาระบบบริหารจัดการโรงเรียนที่ดี คล่องตัว มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนพัฒนาศักยภาพ มีคุณธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม
2. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ความรู้ความสามารถ คุณลักษณะที่พึงประสงค์และทักษะการดำรงชีวิตได้ตามศักยภาพ
3.พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรของโรงเรียนให้เป็นมืออาชีพ มีทักษะในการปฏิบัติงานสามารถจัดกระบวนการเรียนและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
4.เพิ่มสมรรถนะของโรงเรียนในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้และบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน
5. ระดมสรรพกำลังสร้างภาคีเครือข่ายอุปถัมภ์ที่เข้มแข็ง อันเกิดจากพลังการมีส่วนร่วม ของประชาชน องค์กร ประชาสังคม ในรูปแบบผู้อุปถัมภ์และผู้ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติพัฒนา
แผนงานหลัก
1. แผนพัฒนาระบบบริหารและการจัดการ
2. แผนพัฒนาคุณภาพนักเรียนและกระบวนการจัดการเรียนรู้
3. แผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
4. แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร
5. แผนพัฒนาระบบภาคีเครือข่ายอุปถัมภ์และทรัพยากรทางการศึกษา
แผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีโครงการ/งาน/กิจกรรม ดังนี้
1.โครงการพัฒนาศักยภาพสถานศึกษาและครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ ICT
2.โครงการผลิตพัฒนาและจัดซื้ออุปกรณ์สำนักงาน(บริหารทั่วไป)
3.โครงการซ่อมบำรุงระบบบริหารจัดการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ICT
สภาพปัญหาที่ต้องพัฒนาในเรื่องการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศในโรงเรียน
1.ปรับปรุงระบบข้อมูลให้ทันสมัย กะทัดรัด ชัดเจน เข้าใจง่าย สะดวกต่อการใช้งานและเก็บรักษา
และลดความซ้ำซ้อนของงานโดยไม่จำเป็น
2.ต้องทดลองใช้ระบบสารสนเทศระยะหนึ่งแล้วปรับปรุงให้เหมาะสมมีประโยชน์และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
3.ผู้บริหารแต่ละ ฝ่ายงาน ต้องระบุรายการข้อมูลที่ใช้ปฏิบัติงาน และให้บริการตามลำดับความจำเป็นก่อนและหลัง ต้องประสานงานกับผู้พัฒนาโปรแกรมให้มีชุดคำสั่งในการสำรองข้อมูลอัตโนมัติ (Back up Data) เพื่อป้องกันข้อมูลสูญหาย
4. จัดทำเอกสาร คู่มือ การใช้งานของโปรแกรมต่างๆ สำหรับให้ศึกษาเพิ่มเติม ได้ตลอดเวลา
5. ต้องมีการตรวจสอบข้อมูล ให้มีความเป็นปัจจุบัน ข้อมูลที่เกิดทันต่อการใช้งาน มีความเที่ยงตรง ตามเนื้อหาของสาระสนเทศที่ต้องการ
6.ให้ความรู้บุคลากรโดย ให้การฝึกอบรมและพัฒนาครูให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ได้ เรียนรู้วิธีการใช้โปรแกรมต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของตนเอง เพื่อกระจายงาน และมีข้อมูลทันต่อการใช้งาน
7.ผู้รับผิดชอบและประสานงานปรับปรุงระบบสารสนเทศจัดให้อยู่ในรูปคณะกรรมการโดยคัดเลือกจากบุคคลที่เหมาะสม และมีจำนวนมากพอกับปริมาณงานที่ต้องรับผิดชอบ
ด้านทรัพยากรของระบบ
1.จัดให้มีศูนย์สารสนเทศระดับโรงเรียน มีการเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย และการสื่อสารข้อมูลสารสนเทศแบบเชื่อมตรงกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก โดยใช้ระดับ Intranet
2.ประสนงานกับผู้ดูแล Website ให้ปรับปรุงการทำงานของโปรแกรม เพื่อให้ผู้กรอกข้อมูลสามารถกรอกข้อมูลแบบ Offline ได้เสริมให้ครบถ้วนเพื่อความสะดวกในการใช้งาน และจัดหาวัสดุให้เพียงพอต่อการใช้งาน เช่น แผ่นซีดี แผ่นดิสก์ และอื่นๆ
งบประมาณโรงเรียนต้องจัดสรรงบประมาณสำหรับขยายระบบสารสนเทศและพัฒนานวัตกรรมให้มีสมรรถนะการทำงานที่สูงขึ้น โดยขอจัดสรรงบประมาณจากหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น จากอบต.หรือ อบจ.และมีแผนการใช้งบประมาณที่รองรับการขยายระบบสารสนเทศและพัฒนานวัตกรรม
อ้างอิง
แผนปฎิบัตงานโรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษาปีการศึกษา 2552
http://aca.cpy.ac.th/web/data/33.doc
http://web.bsru.ac.th/~suttisuphang/6608601.doc
http://gotoknow.org/blog/bonnyman/137058
http://gotoknow.org/blog/maneekant/168292
http://innotech4all.blogspot.com/2009/10/blog-post.html
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น